วันเสาร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2553

เทคนิคการคํานวณ IP Address

IP Address หรือ Internet Protocol Address มีความสําคัญอยางไร และเกี่ยวของอะไรกับ
เราบาง ปจจุบันคงไมตองกลาวถึงแลว IP Address เปนหมายเลขที่ใชกําหนดใหกับเครื่องคอมพิวเตอร หรือ
อุปกรณ Network ตางๆ เชน Router, Switch , Firewall , IP Camera , IP Phone , Access
point , เปนตน และอีกไมนานอุปกรณไฟฟาหรืออุปกรณสื่อสารทุกประเภทที่จะออกวางจําหนายจะมี IP
Address ติดมาดวยจากโรงงานเลยทีเดียว IP Address ที่ใชในปจจุบันนั้นจะเปนชนิดที่เรียกวา IPv4
(IP version 4) ซึ่งไมเพียงพอตอการใชงาน จึงมีการพัฒนาเปน IPv6 (IP version 6) เพื่อรองรับ
อุปกรณและเทคโนโลยีใหมๆที่ตองใช IP Address ในการติดตอสื่อสาร และในเมืองไทยเองก็มีการใช IPv6
ในหลายหนวยงานแลว หนวยงานที่จัดสรร IP Address ใหในแถบ Asia Pacific คือAPNIC ผู
ใหบริการ Internet หรือ ISP จะขอ IP จาก APNIC แลวนํามาแจกจายใหแกลูกคาของ ISP นั้นๆอีกตอไป
สําหรับผูที่จะสอบใบ Certificate คายตางๆ เชน CCNA , CCNP , LPI , Security + , CWNA
เปนตน ลวนแลวแตจะตองมีความรูเกี่ยวกับ IP Address ทั้งสิ้น โดยเฉพาะ IPv4 จะตองคํานวณไดอยาง
แมนยําและรวดเร็ว
IPv4
IPv4 ประกอบดวยเลขฐานสอง 32 bits (4 bytes ,( 8bits=1byte)) แบงเปน 4 กลุม กลุมละ 8 bits แต
ละกลุมนั้นจะคั่นดวย . ( Dot )
กรณีตัวเลขนอยสุดหรือเปน เลข 0 ทั้งหมด 00000000 . 00000000 . 00000000 . 00000000
กรณีตัวเลขมากสุดหรือเปน เลข 1 ทั้งหมด  11111111 . 11111111 . 11111111 . 11111111
เมื่อแปลงเปนเลขฐาน 10 จะได
กรณีตัวเลขนอยสุดหรือเปน เลข 0 ทั้งหมด  0.0.0.0
กรณีตัวเลขมากสุดหรือเปน เลข 1 ทั้งหมด  255.255.255.255
ดังนั้น IPv4 จะมีตัวเลขที่เปนไปได ตั้งแต 0.0.0.0 – 255.255.255.255กอนการคํานวณเรื่อง IP เพื่อความรวดเร็ว ใหเขียนตามดานลางนี้
IPv4 จะมีตัวเลขที่เปนไปไดทั้งหมดคือตั้งแต 0.0.0.0 - 255.255.555.555
สามารถแบง IPv4 ไดเปน 5 แบบ หรือ 5 Class ตามดานลาง โดยวิธีการแบงจะอางอิงจาก byte ที่ 1 ดังนี้
class A  byte ที่1 ตัวเลขบิตแรก จะเปน 0
class B  byte ที่1 ตัวเลขบิตแรกจะเปน 1 บิตที่ 2 จะเปน 0
class C  byte ที่1 ตัวเลข 2 บิตแรก จะเปน 1 บิตที่ 3 จะเปน 0
class D  byte ที่ 1ตัวเลข 3 บิตแรก จะเปน 1 บิตที่ 4 จะเปน 0
class E  byte ที่ 1 ตัวเลข 4 บิตแรกจะเปน 1
ดังนั้นจะไดผลตามรูปดานลางจะได IP ในแตละ Class ดังนี้
Class A จะเริ่มตนตั้งแต 0.0.0.0 ถึง 127.255.255.255
Class B จะเริ่มตนตั้งแต 128.0.0.0 ถึง 191.255.255.255
Class C จะเริ่มตนตั้งแต 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.255
Class D จะเริ่มตนตั้งแต 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255
Class E จะเริ่มตนตั้งแต 240.0.0.0 ถึง 255.255.255.255
IP ที่สามารถนําไป Set ใหอุปกรณหรือ Host ไดจะมีอยู 3 Class คือ Class A, B และ C สวน IP Class
D จะสงวนไวใชสําหรับงาน multicast applications และ IP Class E จะสงวนไวสําหรับงานวิจัย หรือ
ไวใชในอนาคต
IPv4 ยังแบงเปน 2 ประเภท คือ Public IP ( IP จริง ) และ Private IP ( IP ปลอม )
Public IP ( IP จริง ) คือ IP ที่สามารถ set ใหอุปกรณ network เชน Server หรือ Router แลว
สามารถติดตอสื่อสารกับ Public IP ( IP จริง ) ดวยกัน หรือออกสู Network Internet ไดทันที
Private IP ( IP ปลอม ) สามารถนํามา ใช set ใหกับ PC หรืออุปกรณในออฟฟตไดแตไมสามารถออกสู
Public IP หรือออก Internet ได ตองมีอุปกรณ Gateway เชน Router ,Server หรือModem
DSL เปด Service NAT ( Network Address Translation ) ไว จึงจะสามารถออกสู Internet ได
Private IP จะมีเฉพาะ Class A,B และ C ดังนี้
Class A : 10.x.x.x ( 10.0.0.0 - 10.255.255.255 )
Class B : 172.16.x.x - 172.31.x.x ( 172.16.0.0 - 172.31.255.255 )
Class C : 192.168.x.x ( 192.168.0.0 - 192.168.255.255 )
การคํานวณ IPv4
เมื่อเราได IP Address มา 1 ชุด สิ่งที่จะตองบอกไดจาก IP Address ที่ไดมาคือ
Subnet Mask คือ IP Address อะไร
Network IP คือ IP Address อะไร
Broadcast IP คือ IP Address อะไร
Range host IP ที่สามารถนํามาใชงานได มี IP อะไรบาง
จํานวน Subnets , จํานวน hosts / Subnet
Subnet Mask ทําหนาที่แบง network ออกเปนสวนยอยๆ ลักษณะคลายกับ IP Address คือ
ประกอบดวยตัวเลข 4 ตัวคั่นดวยจุด เชน 255.255.255.0 วิธีการที่จะบอกวา computer แตละเครื่องจะอยู
ใน network วงเดียวกัน (หรืออยูใน subnet เดียวกัน) หรือไมนั้นบอกไดดวยคา Subnet Maskวิธีการหา Subnet Mask
/30 หมายถึง mask 30 bits แรก
/27 หมายถึง mask 27 bits แรก
/20 หมายถึง mask 20 bits แรก
ใหทําการแปลง mask bit ที่กําหนดให เปนคา Subnet Mask
วิธีการคือ bits ที่อยูหนาตัวmask ใหแทนดวยเลข 1 bits ที่อยูหลังใหแทนดวยเลข 0
Ex /30
/30  11111111 . 11111111 . 11111111 . 111111/00
จะไดคา Subnet Mask
/30  255.255.255.252
11111111 . 11111111 . 11111111 . 111111/00
ใหใชตารางชวยจะทําใหเร็วขึ้น โดย ถาเปน 1 จํานวน 8 ตัวจะได 255
ถาเปน 1 จํานวน 6 ตัวจะคือ 252 หรือจะใชวิธีนับจาก 24 bits แรกซึ่งเปน 1 ทั้งหมดอยูแลว นับตอมาจะได
bits ที่ 30 เปน 252 พอดี
Ex /27
/27  11111111 . 11111111 . 11111111 . 111/00000
จะไดคา Subnet Mask
/27  255.255.255.224Ex /20
/20  11111111 . 11111111 . 1111/0000 . 00000000
จะไดคา Subnet Mask
/20  255.255.240.0
ตัวอยาง Subnet Mask ตางๆ มีดังนี้
Mask ที่เปนคา default ของ IP Class ตางๆมีดังนี้
Class A = Mask 8 bits = 255 . 0 . 0 . 0
Class B = Mask 16 bits = 255 . 255 . 0 . 0
Class C = Mask 24 bits = 255 . 255 . 255 . 0
Subnet mask ทั่วไป
Mask 10 = 255 . 192 . 0 . 0 Mask 21 = 255 . 255 . 248 . 0
Mask 11 = 255 . 224 . 0 . 0 Mask 22 = 255 . 255 . 252 . 0
Mask 12 = 255 . 240 . 0 . 0 Mask 23 = 255 . 255 . 254 . 0
Mask 13 = 255 . 248 . 0 . 0 Mask 25 = 255 . 255 . 255 . 128
Mask 14 = 255 . 252 . 0 . 0 Mask 26 = 255 . 255 . 255 . 192
Mask 15 = 255 . 254 . 0 . 0 Mask 27 = 255 . 255 . 255 . 224
Mask 17 = 255 . 255 . 128 . 0 Mask 28 = 255 . 255 . 255 . 240
Mask 18 = 255 . 255 . 192 . 0 Mask 29 = 255 . 255 . 255 . 248
Mask 19 = 255 . 255 . 224 . 0 Mask 30 = 255 . 255 . 255 . 252
Mask 20 = 255 . 255 . 240 . 0 Mask 31 = 255 . 255 . 255 . 254
หมายเหตุ เพื่อใหการแปลงตัวเลขจากเลขฐานสอง เปนฐานสิบเร็วขึ้นใหดูจากดานลาง เชนถาเปน เลข 1
ทั้งหมดจะไดเลข ฐานสิบคือ 255 ถาเปนเลข 1 จํานวน 4 ตัวจะคือ 240 ถาเปนเลข 0 ทั้งหมด จะไดเลข 0
หลังจากได Subnet Mask แลว ขั้นตอนตอไปคือการหา Network IP และ Broadcast IP
Network IP คือ IP ตัวแรกของ Subnet ปกติจะเอาไวประกาศเรื่องของ Routing จะไมสามารถนํามา
Set ใหแกอุปกรณหรือเครื่อง PC ไดBroadcast IP คือ IP ตัวสุดทายของ Subnet ปกติจะทําหนาที่ Broadcast ใหอุปกรณที่อยูในวงเดียวกัน
จะไมสามารถนํามา Set ใหแกอุปกรณหรือเครื่อง PC ไดเชนกัน
Ex.1 192.168.22.50/30
จากโจทย /30 เมื่อแปลงเปน Subnet Mask จะได 255.255.255.252
ให ดูจากที่เขียนไวดานบนนะครับ ถาเปน 1 หมดทั้ง 8 ตัวจะได 255 ( แปลงจากฐานสองเปนฐานสิบ )
เปน 1 ทั้งหมด 6 ตัวจะได 252 ดังนั้นจึงได subnet mask เปน 255.255.255.252
ตอไป หาวา จํานวน IP ตอ Subnet มีจํานวนเทาไหร จากคา Subnet Mask ที่ใหมา
ดูที่ 2 bit ที่เหลือ ที่เปนอะไรก็ไดนั้น ตัวเลขที่เปนไปไดหมดคือ 00 , 01 , 10 , 11 มี 4 ตัว
และเมื่อนํา 00 , 01 , 10 , 11 แปลงเปนฐานสิบจะได
00 แปลงเปนฐานสิบจะได 0
01 แปลงเปนฐานสิบจะได 1
10 แปลงเปนฐานสิบจะได 2
11 แปลงเปนฐานสิบจะได 3
สรุปคือ จํานวน IP ตอ Subnet เมื่อ Subnet Mask คือ 255.255.255.252 คือ 4 ตัว นั่นเอง
หรือใชวิธีลัดดูจากที่เขียนไว ตัวเลขที่อยูบน 252 คือ 4 ตามดานลางครับ
ดังนั้นถา /30 จํานวน IP ในแตละ subnet ที่จะเปนไปไดดูเฉพาะกลุมสุดทาย
คือ 0-3 , 4-7 , 8-11 , _ _ _ , 252-255 หรือเขียนในรูป IPv4 จะได
192.168.22.0 - 192.168.22.3
192.168.22.4 - 192.168.22.7
192.168.22.8 - 192.168.22.11
-----------
192.168.22.48 - 192.168.22.51
---------
192.168.22.252 - 192.168.22.255หมายเหตุ 3 กลุมแรกเหมือนเดิมเนื่องจากผลของการ and ระหวาง bit เนื่องจาก 3 กลุมแรกเปน bit 1
ทั้งหมดทําการ add กับเลขใดก็จะไดตัวเดิม 3 กลุมแรกจึงไดเลขฐาน 10 ตัวเดิม
โดย IP Address ตัวแรกของแตละ subnet จะเรียกวา Network IP และ IP Address ตัวสุดทายของแต
ละ subnet จะเรียกวา Broadcast IP ดังนั้น
จากโจทย 192.168.22.50/30
1. Network IP คือ IP Address อะไร
ตอบ 192.168.22.48
2. Broadcast IP คือ IP Address อะไร
ตอบ 192.168.22.51
3. Range hosts IP ที่สามารถนํามาใชงานได หรือ จํานวน hosts Per Subnet
ตอบ 192.168.22.49 - 192.168.22.50 นํา IP มา set เปน host ได 2 IP
วิธีการหา Network IP นอกเหนือจากการเขียนตามดานบนแลวยังหาไดโดย
วิธีการปกติ ทําไดโดยการนําเอา Subnet Mask มา AND กับ IP Address ที่ใหมา ผลที่ไดจะเปน
Network IP วิธีนี้หนังสือหลายเลมมีอธิบายแลว
วิธีการหาร นํา IP จากโจทยที่ใหมา ตั้งหารดวยจํานวน IP ที่มีไดใน Subnet เชน
192.168.22.50/30 ใหนําเอาตัวเลข 50 หารดวย 4 ดังดานลาง
เมื่อได Netwok IP แลว ก็จะไดคําตอบเชนเดียวกับดานบน เนื่องจากเรารูอยูแลววา /30 ใน 1 subnet จะมี
จํานวน IP ทั้งหมด 4 ตัวจากตาราง ดังที่ไดกลาวมาแลวEx.2 192 .168.5.33/27 which IP address should be assigned to the PC host ?
A.192.168.5.5
B.192.168.5.32
C. 192.168.5.40
D. 192.168.5.63
E. 192.168.5.75
จากโจทย /27 จะหมายถึง
11111111 . 11111111 . 11111111 . 111/XXXX X = mask 27 bit แรก ตองเปนเลข 1 สวน 5
bit หลัง เปนอะไรก็ได
/27 เมื่อแปลงเปนเลขฐานสิบจะได 255 . 255 . 255 . 224
หรือจะคิดแบบลัด ตามตาราง ดูบรรทัดที่ 4 จะหมายถึงผลบวกของ bit ใน 8 bit สุดทายครับ 111 ก็คือ
128+64+32 = 224
เมื่อ ได Subnet Mask แลว เราก็จะรูวามีจํานวน IP ตอ Subnet เทากับ 32 หรือจะดูจากที่เขียนไวดานบน
ของ 224 ก็คือ 32 นั่นเอง
จากโจทย 192 .168.5.33/27 จะใชวิธีไหนก็ไดหาตัว Network มาใหไดกอน
192.168.5.33/27 หมายถึง 192.168.5.32 - 192.168.5.63
โดย IP ตัวแรกจะเปน Network IP ( 192.168.5.32 ) และ IP ตัวสุดทายจะเปน Broadcast IP (
192.168.5.63 ) ซึ่งไมสามารถใช set ใหแก PC ได ดังนั้นจะเหลือ IP ที่สามารถ Set ใหแก PC ไดคือ
192.168.5.33 - 192.168.5.62
คําตอบจึงเปนขอ C. 192.168.5.40
Ex.3 IP 10.10.10.0/13 เปน IP ที่นําไป set ให host ไดหรือไม
IP ที่สามารถนําไป set ให host ไดหรือนําไปใชงานได จะตองไมตรงกับ Network IP หรือ
Broadcast IP
วิธีการคิดกอนอื่นเราตองทําการแปลง /13 หรือmask 13 bit ใหเปน subnet mask11111111 . 11111/XXX . XXXXXXXX . XXXXXXXX = mask 13 bit
แรก ตองเปนเลข 1 สวน bit ที่เหลือเปนอะไรก็ได
/13 เมื่อแปลงเปนเลขฐานสิบจะได 255 . 248 . 0 . 0
จากโจทย เขียนใหมไดดังนี้ IP 10.10.10.0 subnet mask 255.248.0.0
ขั้น ตอไปเราจะมาหาชวง IP จาก subnet mask ที่หามาได 255.248.0.0
หลักที่ 1 จะมีคาคงที่คือเลข 10 หลักที่ 3 และหลักที่ 4 นั้น ตัวเลขที่เปนไปไดคือ 0 - 255
สวนหลักที่ 2 นั้น เราตองมาคํานวณ โดยเวนไวกอน เขียนชวง IP จะไดดังนี้คือ
10 . X . 0 . 0 - 10 . X . 255 . 255
ถา เราพิจารณาเฉพาะ 248 (ดูเฉพาะตัวเลขกลุมที่ 2 ) ถาดูจากรูปดานบน บรรทัดที่ 3 ซึ่งจะหมายถึง IP ที่มี
ไดทั้งหมด ก็คือ 8 ตัว คือ 0-7 , 8-15 , 16- 23 , _ _ _ , 248-255 หรือเขียนเต็มๆจะได
10 . 0 . 0 . 0 - 10 . 7 . 255 . 255
10 . 8 . 0 . 0 - 10 . 15 . 255 . 255 ------------> จากโจทย 10.10.10.0 จะอยูในชวงนี้
10 . 16 . 0 . 0 - 10 . 23 . 255 . 255
------------
10 . 248 . 0 . 0 - 10 . 255 . 255 . 255
จากโจทย 10.10.10.0/13 ก็จะคือ IP ในชวง 10 .8 . 0 . 0 - 10 . 15 . 255 . 255
1. Network IP คือ IP Address อะไร
ตอบ 10 . 8 . 0 . 0
2. Broadcast IP คือ IP Address อะไร
ตอบ 10 . 15 . 255 . 255
3. Range host IP ที่สามารถนํามาใชงานได
ตอบ 10 . 8 . 0 . 1 - 10 . 15 . 255 . 254 ดังนั้น IP 10.10.10.0/13 จึงนํามาใชงานได ถือวา
เปนHost ตัวนึงการหาจํานวน Subnet และ จํานวน hosts / Subnet
การหาจํานวน hosts ตอ Subnet จากคา Subnet Mask ที่ใหมา จะใช สูตร
2n
- 2
โดย n คือจํานวน bits ที่อยูหลังตัวMask สวนเลข 2 ที่ลบออกไปคือ Network IP และ Broadcast IP
Ex.1 /30 11111111 . 11111111 . 11111111 . 111111/00
หรือ 255.255.255.252 จะได
จํานวน hosts/Subnet = 2n
- 2 = 22
- 2 = 4 - 2 = 2
Ex.2 /20 11111111 . 11111111 . 1111/0000 . 00000000
หรือ 255.255.240.0
จํานวน hosts/Subnet = 2n
- 2 = 212
- 2 = 4096 - 2 = 4094
การหาจํานวน Subnet จากคา Subnet Mask ที่ใหมา ปจจุบันใชสูตร
2n
ไมตองลบ 2 เนื่องจากวา ปจจุบันทุก Subnet สามารถใชไดทั้งหมด และใน router cisco เองมีการ
เพิ่ม IP Subnet Zero ไวอยูแลว
โดย n คือจํานวน bits ที่อยูหนาตัวMask ถึงตําแนง . (dot) ที่ใกลที่สุดหรือตําแหนงที่ระบุไว
Ex.3 /30 11111111 . 11111111 . 11111111 . 111111/00
หรือ 255.255.255.252 จะได
จํานวน Subnet = 2n
= 26
= 64
Ex.4 /20 11111111 . 11111111 . 1111/0000 . 00000000
หรือ 255.255.240.0
จํานวน Subnet = 2n
= 24
= 16
Ex.5 จากเดิม /20 แบงเปน /27 จะไดกี่ Subnet อันนี้ระบุMask ตนทางมาจะได
11111111 . 11111111 . 1111/1111 . 111/00000
จํานวน Subnet = 2n
= 27
= 128คําศัพทที่ควรรู
Classful และClassless
Classful จะสนใจ Class ของ IP เปนหลักจะไมสนใจตัวMask ดูตัวเลข IP วาอยู Class ไหน เชน อยู
Class A ,B หรือ C ตามนี้
Class A ( 0.0.0.0 - 127.255.255.255 )
Class B ( 128.0.0.0 - 191.255.255.255 )
Class C (192.0.0.0 - 223.255.255.255 )
ในการใช IP Address ชวงแรกๆจะเปนแบบ Classful ซึ่ง Classful จะ มีคา default subnet mask
ดังนี้
A /8 255.0.0.0
B /16 255.255.0.0
C /24 255.255.255.0
ดังนั้นถาเราใชหลักการของ Classful ก็ไมสามารถแบง Subnet ไดแตกตางจากคา Default Subnet Mask
ตัวอยาง routing protocols : ที่เปนแบบClassful
• RIP Version 1 (RIPv1)
• IGRP
สวน Classless จะตรงขามกับ Classful คือจะไมสนใจ Class ของ IP แตจะสนใจตัวMask เปน
หลัก อยางเชนที่คํานวณตามตัวอยางที่ผานมา โดยจะเปนไปตามหลักการของ Classless Inter-
Domain Routing (CIDR) ดังนั้น ตัวMask จะเปนอะไรก็ได ไมสนใจวา IP อยูClass ไหน
ตัวอยาง routing protocols : ที่เปนแบบClassless ไดแก
• RIP Version 2 (RIPv2)
• EIGRP
• OSPF
• IS-IS
Variable Length Subnet Masks ( VLSM )
จากหลักการ เครือขายที่เราใชงานกันอยู ไมจําเปนจะตองมีขนาดเทากันเสมอไป (ไมจําเปนตองมี ตัวMask
เทากัน ) เชน การเชื่อมตอแบบจุดตอจุด (Point-to-Point) ตองการแค 2 IP ก็เพียงพอ ดังนั้นก็ควร
Mask 30 bit ( /30 ) หรือใช subnet mask เปน 255.255.255.252 หรือการเชื่อตอใน
LAN ที่มีเครื่องเพียง 20 เครื่อง ก็ควรmask 27 bit ( /27 ) หรือ ใช subnet mask เปน
255.255.255.224 เปนตน ดังตัวอยางในรูปดานลาง ใชหลักการของVLSM จะเห็นวาแตละ
subnet จะมีตัวmask ตางกันและmask bit ตามความเหมาะสมทําใหประหยัด IP หรือใช IP ได
อยางมีประสิทธิภาพประโยชนของการใชVLSM ยังมีดังนี้
•VLSM จะยอมใหมีการแบง Subnet ไดมากกวา 1 ครั้งสําหรับแตละชุด IP เพื่อใหไดขนาด IP ตามที่
ตองการ
•VLSM จะชวยลดจํานวนการจัดสรร IP ลง เปนการใชงาน IP อยางมีประสิทธิภาพ
•VLSM ยังชวยใหRouter ทํางานไดเร็วขึ้นเนื่องจากขนาดของ Routing Table เล็กลง
ตัวอยางการจัดสรร IP ดวยหลักการ VLSM
จากรูปดานบนถากําหนด IP มาให เปน 192.168.55.0 /24 ใหทําการแบง จํานวน host ใหเหมาะสมกับแต
ละ Subnet โดยการทํา VLSM จะไดดังนี้
เมื่อดูตามคาของ IP ที่ใหมาจะเห็นวา ไอพีจะเริ่มตั้งแต 192.168.55.0 ไปจนถึง 192.168.55.255 หรือ
จาก 0-255 ตัว โดยใชเรื่องของ subnet มาชวยจะไดดังนี้
วงที่ 1 ตองการ 7 hosts จะไดMask ที่เหมาะสมคือ /28 จะมีจํานวน hosts 14 ตัว เพียงพอกับ
ความตองการ ( ใช /29 ไมไดเนื่องจากจะไดจํานวน hosts เพียง 6 ตัวเทานั้น ซึ่งไมเพียงพอกับความ
ตองการ ) ถาเราใช IP ของ subnet แรกของ /28 IP ที่ใชงานไปคือ 192.168.55.0 -
192.168.55.15 ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไมไดใชคือ
IP 192.168.55.16 – 192.168.55.255 วงที่ 2 ตองการ 2 hosts จะไดMask ที่เหมาะสมคือ /30 จะมีจํานวน hosts 2 ตัวพอดี ในการ
เลือกใช IP ตองเลือก subnets ที่ IP ไมซ้ากับที่แบงใหวงที่ 1 เชน เลือกใช subnet ที่มี IP ตั้งแต
192.168.55.16 - 192.168.55.19 ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไมไดใชคือ
192.168.55.20 – 192.168.55.255
วงที่ 3 ตองการ 90 hosts จะไดMask ที่เหมาะสมคือ /25 จะมีจํานวน hosts 126 ตัว
/25 จะมีเพียง 2 subnets เทานั้น เลือก subnet ที่ IP ยังไมไดมีการใชงาน เลือกใช subnet ที่มี IP
ตั้งแต 192.168.55.128-192.168.55.255 ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไมไดใชคือ
192.168.55.20 – 192.168.55.127
วงที่ 4 ตองการ 2 hosts จะไดMask ที่ตองการคือ /30 จะมีจํานวน hosts 2 ตัวพอดี ในการ
เลือกใช IP ตองเลือก subnets ที่ IP ไมซ้ากับที่แบงใหวงที่ ผานมา เชน เลือกใช subnet ที่มี IP
ตั้งแต 192.168.55.20 - 192.168.55.23 ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไมไดใชคือ
192.168.55.24 – 192.168.55.127
วงที่ 5 ตองการ 23 hosts จะไดMask ที่ตองการคือ /27 จะมีจํานวน hosts 30 ตัว ในการ
เลือกใช IP ตองเลือก subnets ที่ IP ไมซ้ากับที่แบงใหวงที่ ผานมา เชน เลือกใช subnet ที่มี IP
ตั้งแต 192.168.55.32 - 192.168.55.63 ดังนั้น IP ที่เหลือที่ยังไมไดใชคือ
192.168.55.24 – 192.168.55.31 และ 192.168.55.64 – 192.168.55.127
Summarization
Summarization คือการ รวบรวม IP หลายๆ networks ใหเหลือ network เดียว โดย จะตอง
ครอบคลุม IP หลายๆ networks นั้นดวย เชน ตามรูปดานลาง
จากรูปที่ 3.16 วิธีการหา Summarization ทําไดโดยการแปลง IP เปนฐานสองทั้งหมด แลวดูเฉพาะตัว
เลขที่เหมือนกันสิ้นสุดที่ bit ไหน ก็จะทําการmask ที่ bit นั้น172.1.4.0/25 10101100 . 00000001 . 00000100 . 00000000
172.1.5.0/24 10101100 . 00000001 . 00000101 . 00000000
172.1.6.0/24 10101100 . 00000001 . 00000110 . 00000000
172.1.7.0/24 10101100 . 00000001 . 00000111 . 00000000
172.1.4.128/25 10101100 . 00000001 . 00000100 . 10000000
ดังนั้นจาก networks ทั้งหมดจะเห็นวา ตัวเลขที่เหมือนกันจะสิ้นสุดที่ bits ที่ 22 ดังนั้นจะmask 22
bits ( /22 ) ก็จะได Summarization เปน 172.1.4.0/22
หรือ ถาสามารถ คํานวณ IP ไดเร็วก็ไมตองแปลง IP เปนฐานสองก็ได โดยใชวิธีสังเกตุจะเห็นวา ตัวเลขจะ
เหมือนกันใน 2 กลุมแรกอยูแลว มีกลุมที่สาม ที่แตกตางกันคือตัวเลข 4 ,5 ,6 และ 7 ซึ่งมี 4 ตัว คือ 4-7
ซึ่งตรงกับตัวเลข IP ในกลุมที่มี 4 ตัวพอดี และเมื่อนํามาพิจารณาจะตรงกับ /22 ก็จะไดคําตอบ
172.1.4.0/22 เชนกัน
การทํา Summarization นั้น เพื่อให Router ทํางานนอยลงนั่นเองเปนการประหยัด CPU โดยเฉพาะในเรื่อง
Routing จะเห็นไดชัดเจนมาก
IPv6
IPv6 หรือ IP version 6 เปนรูปแบบ IP ชุดใหมที่มีการพัฒนามาจาก IPv4 โดยจะใชการสง
ขอมูลเปน 128 bit และจะใชเลขฐาน 16 จํานวน 8 กลุม เปนเกณฑหลัก ( FFFF . FFFF . FFFF . FFFF
. FFFF . FFFF . FFFF . FFFF) ตัวอยางเลข IPv6 เชน 2301 : 0000 : 130F : 0000 : 0000 :
09C0 : 876A : 130B เปนตน IPv6 นั้นสามารถเขียนแบบยอตัวเลขโดยมีหลักเกณฑดังนี้
- มีเลข 0 อยูในแถว 4 ตัว ติดกันสามารถยุบใหเหลือเพียงแคตัวเดียว
: 0000 = : 0
- มีเลข 0 อยูหนาแถวของจํานวนกลุม สามารถยุบใหเหลือเพียงแคตัวเลขเพียงอยางเดียวโดยไมตองเขียนเลข 0
: 0978 = : 978
: 00AB = :AB
- มีเลข 0 อยูในแถวติดกันสองกลุมขึ้นไปสามารถยุบ จํานวนกลุมนั้นๆ แลวใสแคเพียงเครื่องหมาย :: แทนได
เชน 0000:0000:0000 = :: แตจะมี :: ไดแคที่เดียวในตัวเลข IPv6 และจะตองไม
อยูทายสุด
จากหลักเกณฑดังกลาว สามารถเขียน IPv6 จาก
123C : 0456 : 0000 : 87FD : 0000 : 0000 : CCA2 : 34E2
เขียนใหมเปน 123C : 456 : 0 : 87FD : : CCA2 : 34E2
การแปลงเลข IPv4 เปน IPv6 สามารถทําไดดังนี้
IP 192 . 168 . 1 .1  : : 192 . 168 . 1 . 1หมายเหตุ เลขฐาน 16 นั้นจะเริ่มนับตั้งแต 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F ดังนั้นถาเราตองการจะ
แปลงเปนเลขฐาน 10 ก็สามารถทําไดดังนี้ เชน เลขฐาน16 = 09C0 นํามาแปลงเปนเลขฐาน 10 จะได
( 0 x 16 x 16 x 16 ) + ( 9 x 16 x 16 ) + ( 13 x 16 ) + ( 0 x 16 ) = 2512
IPv6 แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
- Unicast จะเปนการสงขอมูล แบบตัวตอตัวโดยเลือกเปนคู ๆ เฉพาะเจาะจง
- Multicast จะเปนการสงขอมูลแบบทั่วถึง โดยการสงหาทุกตัวในกลุม
- Anycast จะเปนการสงขอมูล แบบสุมเลือกหรือ คัดสรร ตัวที่ตองการจะสงใหเทานั้น โดย Anycast จะ
เปนสวนหนึ่งของMulticast
IPv6 จะไมมีการ broadcast
ตัวอยาง IPv6 ที่ควรรู
0:0:0:0:0:0:0:0 เปรียบเทียบกับ IPv4 จะได 0.0.0.0 เหมาะสําหรับการทํา stateful configuration.
0:0:0:0:0:0:0:1 ::1 เปรียบไดกับ 127.0.0.1 ใน IPv4
0:0:0:0:0:0:192.168.100.1  IPv6/IPv4 network environment.
2000::/3 The global unicast address range.
FC00::/7The unique local unicast range.
FE80::/10The link-local unicast range.
FF00::/8 The multicast range.
3FFF:FFFF::/32 Reserved for examples and documentation.
2001:0DB8::/32Also reserved for examples and documentation.
2002::/16 Used with 6to4, which is the transition systemตัวอยางคําถามเกี่ยวกับ IP Address
1) In the implementation of VLSM techniques on a network using a single Class C IP address,
which subnet mask is the most efficient for point-to-point serial links?
A. 255.255.255.0
B. 255.255.255.240
C. 255.255.255.248
D. 255.255.255.252
E. 255.255.255.254
Answer: D
จากโจทยใหหา subnet mask ที่เหมาะสมที่สุดสําหรับ link point-to-point โดยใชหลักการของ
VLSM ถาเปน link point-to-point โดยทั่วไปแลวจะใช IP host เพียง 2 IP เทานั้น ดังนั้นmask ที่
เหมาะสมที่สุดคือ /30 หรือ 255.255.255.252 ซึ่งมีจํานวน hosts 2 IP พอดี
2) Refer to the exhibit. The networks connected to router R2 have been summarized as a
192.168.176.0/21 route and sent to R1. Which two packet destination addresses will R1 forward to
R2? (Choose two.)
A. 192.168.194.160
B. 192.168.183.41
C. 192.168.159.2
D. 192.168.183.255
E. 192.168.179.4
F. 192.168.184.45
Answer: BE
จากโจทยบอกวา networks ที่ Router R2 ทั้งหมดถูก summarized เปน 192.168.176.0/21 IP
ในขอใดที่ Router R1 จะ forward ไปยัง Router R2 สรุปคือ หา ชวง IP ที่เปนไปไดทั้งหมดของ
192.168.176.0/21 นั่นเอง
/21 เมื่อแปลงเปน subnet mask จะได 255.255.248.0
192.168. X . 0 - 192.168. X . 255ใชตารางชวย 248 จะมีจํานวน IP ใน subnet ทั้งหมด 8 ตัว แตตัวเลขที่โจทยใหมา เปน 176 ดังนั้นนํามา
หารจะไวกวาเขียน ดังนี้
176 หาร 8 จะได 22 เมื่อคูณยอนกลับจะได Network IP คือ 176 และเรารูวาใน subnet นึงมี 8
IP ดังนั้นจะไดตัวเลข 176-183
192.168.176.0/21
192.168. X . 0 - 192.168. X . 255
192.168.176.0 - 192.168.183.255
คําตอบคือ B. 192.168.183.41 และ E. 192.168.179.4
3) The Ethernet networks connected to router R1 in the graphic have been summarized for router
R2 as 192.1.144.0/20. Which of the following packet destination addresses will R2 forward to R1,
according to this summary? (Choose two.)
A. 192.1.159.2
B. 192.1.160.11
C. 192.1.138.41D. 192.1.151.254
E. 192.1.143.145
F. 192.1.1.144
Answer: AD
โจทยขอนี้ ความหมายคือใหหา IP ที่อยูใน 192.1.144.0/20 นั่นเอง เชนเดียวกับโจทยขอที่ 2
ใชตารางชวย /20 เมื่อแปลงเปน subnet mask จะได 255.255.240.0
192.1. X . 0 - 192.1. X . 255
ใชตารางชวย 240 จะมีจํานวน IP ใน subnet ทั้งหมด 16 ตัว แตตัวเลขที่โจทยใหมา เปน 144 ดังนั้นนํามา
หารจะไวกวาเขียน ดังนี้
144 หาร 16 จะได 9 เมื่อคูณยอนกลับจะได Network IP คือ 144 และเรารูวาใน subnet นึงมี
16 IP ดังนั้นจะไดตัวเลข 144-159
192.1.144.0/20
192.1. X . 0 - 192.1. X . 255
192.1.144.0 - 192.1.159.255
คําตอบคือ A. 192.1.159.2 และ D. 192.1.151.2544) Refer to the exhibit. All of the routers in the network are configured with the ip subnet-zero
command. Which network addresses should be used for Link A and Network A? (Choose two.)
A. Network A - 172.16.3.48/26
B. Network A - 172.16.3.128/25
C. Network A - 172.16.3.192/26
D. Link A - 172.16.3.0/30
E. Link A - 172.16.3.40/30
F. Link A - 172.16.3.112/30
Answer: BD
จากโจทย Link A ถาทําการจัดสรร IP ตามหลักการของ VLSM แลว เปน Link ระหวาง
Router ควรจะเปน /30 สวน Network A ตองการจํานวน Hosts ทั้งหมด 120 Hosts ควรเปน /25
จาก Network Diagram ที่ใหมา นําตัวเลข IP มาพิจารณา ดู IP ที่ยังไมไดใชงาน ของmask คาตางๆ
พิจารณาตัวเลขเฉพาะกลุมสุดทายจะไดผลดังนี้ดังนั้น คําตอบ คือ B. Network A - 172.16.3.128/25 และ D. Link A - 172.16.3.0/30
5) If an ethernet port on a router was assigned an IP address of 172.16.112.1/20, what is the
maximum number of hosts allowed on this subnet?
A. 1024
B. 2046
C. 4094
D. 4096
E. 8190
Answer: C
โจทยขอนี้ ถามวาจํานวนHosts ที่เปนไปไดมากที่สุดของ /20 คือเทาไหร
ขอนี้ตองใชสูตร 2n
- 2 โดย n คือจํานวน bits ที่อยูหลังmask นั่นเอง
/20  11111111 . 11111111 . 1111/0000 . 00000000
หรือ 255.255.240.0
จํานวน hosts/Subnet = 2n
- 2 = 212
- 2 = 4096 - 2 = 4094
ดังนั้นตอบ C. 4094
6) Refer to the exhibit. A new subnet with 12 hosts has been added to the network. Which subnet
address should this network use to provide enough useable addresses while wasting the fewest
addresses?A. 192.168.10.80/28
B. 192.168.10.80/29
C. 192.168.10.96/28
D. 192.168.10.96/29
Answer: C
โจทยขอนี้ใหจัดสรร IP โดยใชหลักการณของVLSM นั่นเอง ตองการ IP 12 hosts ดังนั้น
mask ที่เหมาะสมที่สุดจะคือ /28 ซึ่งจะมีจํานวน hosts 14 ตัว
จากตัวเลือกใหมาจะมี /28 2 ตัวเลือก คือ A. 192.168.10.80/28 และ C. 192.168.10.96/28 แต
เนื่องจากในขอ A. 192.168.10.80/28 (192.168.10.80 – 192.168.10.95) ไมสามารถใชได เนื่องจากมี
IP บางสวนถูกใชไปในRouter B แลว คือ 192.168.10.64/27 (192.168.10.64 – 192.168.10.95)
ดังนั้นจึงตอบ ขอC. 192.168.10.96/28
7) Which option is a valid IPv6 address?
A. 2001:0000:130F::099a::12a
B. 2002:7654:A1AD:61:81AF:CCC1
C. FEC0:ABCD:WXYZ:0067::2A4
D. 2004:1:25A4:886F::1
Answer: D
ขอ A ผิด เนื่องจากมี :: อยู 2 ตําแหนง
ขอ B ผิด เนื่องจาก IPv6 ตองมีทั้งหมด 8 กลุม แตขอ B มีเพียง 6 กลุมเทานั้น
ขอ C ผิด เนื่องจาก IPv6 ตองเปนเลขฐาน 16 เทานั้น จะไมมีWXYZดังนั้นตอบขอ D เปน IPv6 ที่ถูกตองที่สุด
8) Which IP address can be assigned to an Internet interface?
A. 10.180.48.224
B. 9.255.255.10
C. 192.168.20.223
D. 172.16.200.18
Answer:B
โจทยขอนี้ ใหหา IP ที่สามารถ set ให Interface ที่ตอ Internet หมายความวาตองใส IP เปน IP
Public เทานั้น ขอใดเปน IP Private จะผิดทันที
Private IP จะมีเฉพาะ Class A,B และ C ดังนี้
Class A : 10.x.x.x ( 10.0.0.0 - 10.255.255.255 )
Class B : 172.16.x.x - 172.31.x.x ( 172.16.0.0 - 172.31.255.255 )
Class C : 192.168.x.x ( 192.168.0.0 - 192.168.255.255 )
จากตัวเลือกที่ใหมาจะมีเพียงขอ B เทานั้นที่ไมไดอยูในชวงของ Private IP หรือ B. 9.255.255.10 เปน
IP Public เพียงขอเดียวเทานั้นนั่นเอง
9) Refer to the exhibit. What is the most appropriate summarization for these routes?
10.0.0.0
10.0.1.0
10.0.2.0
10.0.3.0
A. 10.0.0.0 /21
B. 10.0.0.0 /22
C. 10.0.0.0 /23
D. 10.0.0.0 /24
Answer: B
จากโจทย ตัวเลขที่สนใจจะอยูกลุมที่ 3 และมี 4 ตัวคือ 0,1,2,3 หรือ 0-3 ซึ่งจะอยูในกลุม 4 ตัว
ซึ่งถาอยูกลุมที่ 3 และกลุมที่มี 4 ตัวตามตาราง จะตกที่ /22 พอดี ( นับจาก 16 bit มา )
0-3 IP network จะคือ IP ตัวแรกของกลุม ดังนั้น 0 คือตัว network ดังนั้นจึงตอบ B.10.0.0.0/2210) On the network 131.1.123.0/27, what is the last IP address that can be
assigned to a host?
A. 131.1.123.30
B. 131.1.123.31
C. 131.1.123.32
D. 131.1.123.33
Answer: A
จากโจทยใหหา host ตัวสุดทาย ของ 131.1.123.0/27 ตองหา subnet mask กอน จาก
ตาราง /27 จะได subnet mask 255.255.255.224 ( นับจาก 24 bit มา )
3 กลุมแรกจะถูกmask ใหเปนคาเดิม จากตาราง 224 เมื่อดูขางบนคือ 32 นํามาเขียนเฉพาะ กลุมสุดทายจะ
ได
ดังนั้น จะได 131.1.123.0/27 คือ 131.1.123.0 - 131.1.123.31
โดย Network IP คือ 131.1.123.0
Broadcast IP คือ 131.1.123.31
IP Hosts คือ 131.1.123.1 - 131.1.123.30
Host ตัวสุดทายคือA. 131.1.123.3011) The ip subnet zero command is not configured on a router. What
would be the IP address of Ethernet
0/0 using the first available address from the sixth subnet of the network
192.168.8.0/29?
A. 192.168.8.25
B. 192.168.8.41
C. 192.168.8.49
D. 192.168.8.113
Answer: C
จากโจทย บอกวา Router ไมได config ip subnet zero ไว จงหา ip ตัวแรก ของ subnet ที่ 6
ของ 192.168.8.0/29 จากตาราง /29 จะได subnet mask 255.255.255.248 ( นับ
จาก 24 bit มา ) 1 subnet จะมี IP ทั้งหมด 8 ตัวตามตารางดานลาง
ดังนั้น IP ตัวแรก จะตอบ C. 192.168.8.4912)Which of the following IP addresses fall into the CIDR block of
115.64.4.0/22? (Choose three.)
A. 115.64.8.32
B. 115.64.7.64
C. 115.64.6.255
D. 115.64.3.255
E. 115.64.5.128
F. 115.64.12.128
Answer: BCE
โจทยขอนี้ ความหมายคือใหหา IP ที่อยูใน 115.64.4.0/22 นั่นเอง
ใชตารางชวย /22 เมื่อแปลงเปน subnet mask จะได 255.255.252.0
115.64. X . 0 - 115.64. X . 255
ใชตารางชวย 252 จะมีจํานวน IP ใน subnet ทั้งหมด 4 ตัว แตตัวเลขที่โจทยใหมา เปน 4
0 – 3
4 – 7
8 – 11
-
จากโจทย 115.64.4.0/22 ดังนั้นจะไดตัวเลข 4-7
115.64.4.0/22
115.64. X . 0 - 115.64. X . 255
115.64.4.0 - 115.64.7.255
คําตอบคือ B. 115.64.7.64 , C. 115.64.6.255 และ E. 115.64.5.128แหลงขอมูลอางอิง
ขอมูลสวนใหญ รวบรวมจาก ถามีขอความหรือเนื้อหาบางสวนตรงกับบทความทานใดหรือ web ใด กรุณา
แจงมาทาง jodoi@jodoi.com เพื่อทําการอางอิงใหถูกตอง
http://www.jodoi.com/IP/ip1.html - http://www.jodoi.com/IP/ip5.html
Sybex.CCNA.Cisco.Certified.Network.Associate.Study.Guide.Exam.640-
802.6th.Edition.Aug.2007.pdf
TestInside 640-802 V4.32.pdf

สนับสนุนโดย http://www.jodoi.com

http://www.onairnetwork.net : รับวางโคโล , โคโล , โคโลเคชั่น , ติดตั้งโคโล , ติดตั้งระบบเน็ท , อินเทอร์เน็ต

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น